‘2 ทศวรรษปากมูน’ ครั้งที่ 2 บนเส้นทางการต่อสู้ของคนหาปลา

ชื่องาน :‘2 ทศวรรษปากมูน’ ครั้งที่ 2 บนเส้นทางการต่อสู้ของคนหาปลา

รายละเอียด :

วันเวลา : วันที่ 13 – 16 มีนาคม 2558 เวลา 08.30 – 16.30 น.

สถานที่ : ห้องประชุม ศอข. โขงเจียม อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี และที่ สี่พันดอน จำปาศักดิ์ สปป.ลาว

16702584351_dd284d37c0_b

วันที่ 13 มีนาคม 2558
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน รับเอกสาร
09.00 – 10.00 น. พิธีเปิด
กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วม / รายงานความเป็นมาของจัดงาน
โดย : ดร.ลัดดาวัลย์ ตันติวิทยาพิทักษ์
กล่าวเปิดงาน เวทีสาธารณะ 2 ทศวรรษปากมูน ฯ ปาฐกถา “การละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดน”
โดย : นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
10.00 – 12.30 น. เวที วิพากษ์นโยบายการพัฒนาลุ่มน้ำโขง “แผนงาน / โครงการสร้างเขื่อนในแม่น้ำโขง”
นำเสนอ : นโยบาย / แผนงานการพัฒนาลุ่มน้ำโขง “การสร้างเขื่อนในแม่น้ำโขง”
โดย : ผู้แทนจาก MRC
โดย : ผู้แทนจากกรมทรัพยากรน้ำ
ร่วมวิพากษ์โดย โดย : นักวิชาการ
โดย : ชาวบ้านปากมูล  (ประสบการณ์คัดค้านเขื่อนปากมูล)
โดย : คุณยรรยงค์  ศรีเจริญ หัวหน้าฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำจืด WWFประเทศไทย
โดย : คุณชลิดา ทาเจริญศักดิ์ ผู้อำนวยการมูลนิธิศักยภาพชุมชน
โดย : ผู้แทนจากภาคประชาสังคมไทย
ดำเนินรายการโดย คุณอารีวรรณ จตุทอง
12.30 – 13.30 น. รับประทานอาหารเที่ยง / วีดีทัศน์แม่น้ำโขง
13.30 – 15.30 น. เวที วิพากษ์ “กลไกแม่น้ำโขง(MRC)/กระบวนการเกี่ยวกับแม่น้ำโขง (PNPCA)”
นำเสนอ : กลไกแม่น้ำโขง (MRC) และกระบวนการเกี่ยวกับแม่น้ำโขง (PNPCA)
โดย : ผู้แทนจาก MRC
โดย : ผู้แทนจากกรมทรัพยากรน้ำ
ร่วมวิพากษ์โดย โดย : นักวิชาการ
โดย : ชาวบ้านปากมูล (ประสบการณ์คัดค้านเขื่อนปากมูล)
โดย : คุณยรรยงค์  ศรีเจริญ หัวหน้าฝ่ายอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำจืด WWFประเทศไทย
โดย : คุณชลิดา ทาเจริญศักดิ์ ผู้อำนวยการมูลนิธิศักยภาพชุมชน
โดย : ผู้แทนจากภาคประชาสังคมไทย
ดำเนินรายการ โดย ดร.อลงกรณ์  อรรคแสง : วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.สารคาม
15.30 – 16.00 น.  ปัจฉิมกถา “แม่น้ำโขง มหานทีแห่งชีวิต ไร้พรมแดน”
โดย : ผศ.ดร.จิตรกร  โพธิ์งาม : รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎ
อุบลราชธานี
16.00 – 17.30 น. ล่องเรือสัมผัสความงาม “แม่น้ำมูน และแม่น้ำโขง มหานทีเพื่อชีวิต”
17.30 เป็นต้นไป ร่วมสวดมนต์เย็น “ทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้กับพี่มดและผู้เสียชีวิต”(ศูนย์ภูมิปัญญาไทบ้านปากมูน)

วันที่ 14 มีนาคม 2558
07.30 – 09.00 น. ทำบุญตักบาตรนักสู้ปากมูน(พี่มดและทุกคน) (ศูนย์ภูมิปัญญาไทบ้าน ฯ)
09.00 – 10.00 น. พิธีสืบชะตาแม่น้ำ (บริเวณแม่น้ำสองสีปากมูน) / อ่านคำประกาศวันหยุดเขื่อนโลก
10.00 – 12.00 น. แผนการณ์รณรงค์ และเครือข่ายเพื่อปกป้องแม่น้ำโขง
โดย : ระดมจากผู้เข้าร่วมในเวที
ดำเนินรายการ โดย : คุณกฤษกร ศิลารักษ์
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.00 น. จัดทำคำประกาศแม่น้ำสองสี / ประกาศเจตนารมณ์
15.00 – 16.30 น. ลงทะเบียนผู้ที่จะลงพื้นที่ดอนสะโฮง
18.00 เป็นต้นไป เวทีให้ข้อมูลเขื่อนแม่น้ำโขง เขื่อนดอนสะโฮง (เวทีหน้าที่ว่าการอำเภอโขงเจียม)
กำหนดการลงพื้นที่ “สี่พันดอน” บริเวณที่คาดว่าจะก่อสร้างเขื่อนดอนสะโฮง สปป.ลาว

วันที่ 15 มีนาคม 2557
08.00 น. พิธีการทางศุลกากร (ตรวจคนเข้า – ออกประเทศ)
11.00 น.  เดินทางถึงน้ำตกคอนพระเพ็ง ดูสภาพพื้นที่คอนพะเพ็ง
12.00 น. รับประทานอาหารเที่ยงที่น้ำตกคอนพระเพ็ง
13.30 น. เป็นต้นไป เดินทางโดยเรือ เข้าพื้นที่ ฮูสะดำ , ฮูสะโฮง และ ฮูช้างเผือก
16.30 น. เดินทางไปบ้านนากะสังข์ ดู “ตลาดปลา”
18.00 น. เข้าที่พัก (ดอนโขง/ดอนเดช)
19.00 น. ทานอาหารเย็น

วันที่ 16 มีนาคม 2557
08.00 น. รับประทานอาหารเช้าในโรงแรมที่พัก / เก็บสัมภาระ
09.30 น.  เป็นต้นไป เดินทางโดยเรือ เข้าพื้นที่น้ำตกหลี่ผี
12.00น. รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 น. เดินทางออกจากพื้นที่สู่เมืองปากเซ
15.00 น. รับฟังข้อมูล “เขื่อนดอนสะโฮง” จากตัวแทนรัฐบาล สปป.ลาว
17.30 น. เดินทางถึงด่านชายแดนช่องเม็ก เข้าสู่พิธีศุลกากร (ตรวจคนเข้า – ออกประเทศ)
18.00 น. เดินทางกลับภูมิลำเนา (แยกย้าย / บางส่วนกลับ / บางส่วนพักต่อ)

วัตถุประสงค์การเดินทางไปดูพื้นที่
1. เพื่อดูช่องนำไหล ที่จะเป็นทางเดินทางของปลาจากด้านท้ายแนวการก่อสร้างเขื่อนดอนสะโฮง ว่าหากมีการปิดฮูสะโฮงแล้ว ปลาจะสามารถเดินทางในช่องทางใด ได้บ้าง ดังนั้นจึงต้องดูช่องทางน้ำผ่านทุกช่องทาง เพื่อเปรียบเทียบกัน
2. เพื่อดูสภาพการดำรงวิถีชีวิต การประกอบอาชีพประมงของคนในบริเวณ “สี่พันดอน”
3. เพื่อจะได้ทราบข้อมูล แนวคิด ของรัฐบาล สปป.ลาว ต่อการสร้างเขื่อนดอนสะโฮง
…………………………….

องค์กรร่วมจัด
1. คณะอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
2. กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3. ฝ่ายพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
4. WWF ประเทศไทย
5. มูลนิธิศักยภาพชุมชน
6. มูลนิธิประชาสังคม จังหวัดอุบลราชธานี
7. คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชนภาคอีสาน (กป.อพช.อีสาน)
8. เครือข่ายสลัม 4 ภาค
9. ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (ขปส.)
10. เครือข่ายปฏิรูปที่ดินภาคอีสาน (คปอ.)
11. โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติ ม.ขอนแก่น (Ciee ประเทศไทย)
12. กองทุนตามเจตนารมณ์ วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์
13. คณะกรรมการชาวบ้านเพื่อฟื้นฟูชีวิตและชุมชนลุ่มน้ำมูน (ชชช.)